วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

กฏข้อ 3 ของนิวตัน

"ทุกแรงกิริยาจะต้องมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเท่ากันและมีทิศทางตรงข้ามเสมอ" หรือ "แรงกระทำซึ่งกันและกันของวัตถุทั้งสอง ย่อมมีขนาดเท่ากันและทิศตรงข้าม"
                แรงกิริยา = แรงปฏิกิริยา

      กฎข้อนี้แสดงให้เห็นว่าแรงทุกแรงจะเกิดขึ้นเป็นคู่เสมอ เมื่อวัตถุ A ส่งแรงกระทำต่อวัตถุ B วัตถุ B ก็จะส่งแรงที่เท่ากันตอบกลับมาในทิศทางที่ตรงข้าม
ตัวอย่างเช่น ผู้ที่กำลังเล่นสเกตเลื่อน ออกแรงผลักผู้เล่นคนอื่น ทั้งคู่ก็จะเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงข้ามกัน อ่านเพิ่มเติม


มวลและความเฉื่อย

มวล หมายถึง ปริมาณที่บอกว่าวัตถุมีความเฉื่อยน้อยหรือเฉื่อยมากเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg) มวลไม่ว่าอยู่ที่ใดจะมีค่าคงที่

     น้ำหนัก หมายถึง แรงดึงดูดของโลกที่กระทำต่อวัตถุเป็นปริมาณ เวกเตอร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน (N อ่านเพิ่มเติม  

การเคลื่อนที่ของบอลลูน

   วัตถุที่ตกจากบอลลูนมีการเคลื่อนที่ กรณี

1. บอลลูนลอยขึ้นด้วยความเร็ว V
    ถุงทรายที่ตกจากบอลลูนจะมีความเร็ว เท่ากับบอลลูนและมีทิศขึ้นเหมือนบอลลูน และเมื่อถุงทรายหลุดจากบอลลูนจะเคลื่อนที่แบบตกอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก ความเร่ง = -  m/s² อ่านเพิ่มเติม


วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

สมดุลต่อการเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งแกร่งอาจแบ่งได้เป็น แบบคือ
1. การเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ คือทุกส่วนเลื่อนไปในทางเดียวกัน เช่น การผลักไม้บรรทัดแล้วไม้บรรทัดเลื่อนไปข้างหน้าทิศเดียวกัน
2. การเคลื่อนที่แบบหมุ อ่านเพิ่มเติม

สมดุลของแรง

  เมื่อมีแรง 3 กระทำต่อวัตถุ วัตถุจะสมดุลได้จะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขคือ
1. แรงทั้งสามต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน
2. แรงลัพธ์ = 0 
3. แรงทั้งสามต้องพบกันที่จุ  อ่านเพิ่มเติม

วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

องค์ประกอบเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก

 องค์ประกอบเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่สำคัญมากคือ เวกเตอร์ชุด hat{i}, hat{j} และ hat{k} ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษดังนี้
1. เวกเตอร์หนึ่งหน่วยทั้งสามตั้งฉากกัน
2. โดยทั่วไปถือว่าเวกเตอร์ทั้งสา อ่านเพิ่มเติม


แรงเสียดทาน

 แรงเสียดทาน
 สภาพการเคลืื่อนทีี่ของวัตถุ
สภาพการเคลืื่อนทีี่ของวัตถุแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
คือสภาพการเคลืื่อนทีี่คงเดิม หมายถึง อาการที่ อ่านเพิ่มเติม